วันจันทร์ที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2555

ภาษาน่ารู้สู่อาเซียน


ภาษาน่ารู้สู่อาเซียน
1.ประเทศลาว
เท่าไหร่                    เท่าได๋
ถูก                         ถึก
แพง                       แพง
เครื่องคิดเลข            จักรคิดไล่
ชอบมาก                 มักหลาย

2.ประเทศมาเลเซีย
  ภาษาไทย                                        คำอ่านภาษาอังกฤษ                              คำอ่านภาษาไทย
   สวัสดี                                             Salamat Datang                               ซาลามัต ดาตัง
   ขอบคุณ                                          Terima kasih                                   เทริมา กาสิ
   ขอโทษ                                                Maaf                                         อาอาฟ
   กรุณา                                                  Sila                                            ซิลา
   สบายดีไหม                                      Apa Kha bar?                                  อาปา กา บา

3.ประเทศเวียดนาม
• การนับวัน (ภาษาเวียดนาม)
• จู่ ยัต (Chu Nhat) : อาทิตย์
• ถือ ไห่ (Thu Hai) : จันทร์
• ถือ บา (Thu Ba) : อังคาร
• ถือ ตือ (Thu Tu) : พุธ
• ถือ นาม (Thu Nam) : พฤหัสบดี
• ถือ เสา (Thu Sau) : ศุกร์
• ถือ ไบ่ (Thu Bay) : เสาร์
4.ประเทศพม่า
ตัว : ไป
เชตัว : ไปตลาด
ฉิฉิ่น : เดิน
ปี : วิ่ง
ขะยี : เดินทาง
ตินบอตัว : ตรงไป
5.ประเทศสิงคโปร์
ภาษาไทย (Thai)
สิงคโปร์(Singapore)
สวัสดี  
หนีห่าว
สบายดีหรือ  
หนีห่าวมะ
ผม, ฉัน     
หวอ
คุณชื่ออะไร   
หนินเจี้ยวเสิ่นเมอหมิงจื้อ
ฉันชื่อ   
หว่อเจี้ยว....
 
6.ประเทศอินโดนีเซีย
Halo (ฮาโหล) = สวัสดี
Selamat pagi (เซอลามัต ปากี) = สวัสดีตอนเช้า
Selamat siang(เซอลามัตเซียง) = สวัสดีตอนกลางวัน
Selamat malam (เซอลามัตมาลาม) = สวัสดีตอนหัวค่ำ
Selamat tidur (เซอลามัตติดูร์) = ราตรีสวัสดิ์
7.ประเทศฟิลิปปินส์
สวัสดี (กูมุสตา) Kumusta
ขอบคุณ (ซาลามัต) Salamat
ขอโทษ (ปะ อุมันฮิน) Paumanhin
กรุณา (ปากีซูโย่) Pakisuyo
สบายดีไหม ? (กูมุสตา กา) Kamusta ka?


วันพุธที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2555

ผลไม้อีสานบ้านเฮา



1. หมากเล็บ แมว (หนามเล็บแมว,แก้วมือไว)
ชื่อวิทยาศาสตร์
Pterolobium integrum Craib.
ลักษณะนิสัย
ผลัดใบหมดทั้งต้น ออกดอก ติดผลเดือน ก.ค.-ส.ค.
ผลสุกเดือน พ.ย.-ธ.ค.
ลักษณะพิเศษของพืช
ลำต้น กิ่ง มีหนามแหลมโค้ง คลุมดินได้ดี ผลสุกกินได้
รสหวาน
บริเวณที่พบ
ที่ราบป่าผลัดใบ ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบเขาภาคอีสาน
ภาคเหนือ

2. หมากเบ็น


หมากเบ็น

ชื่อท้องถิ่น:หมากเบ็น
ชื่อสามัญ:ตะขบป่า
ชื่อวิทยาศาสตร์:Flacourtia indica (Burm.f.) Merr.
ชื่อวงศ์:FLACOURTIACEAE
ลักษณะวิสัย/ประเภท:ไม้ยืนต้น
ลักษณะพืช:ไม่พุ่มขนาดย่อม ตามกิ่งก้านมีหนามแหลมยาวตลอดทั้งต้น ใบเดี่ยวรูปไข่ ปลายใบแหลม ผิวใบเรียบ
ดอกขนาดเล็กสีขาว ผลทรงกลมขนาดเท่าปลายนิ้วมือ ผลสุกสีน้ำตาลเข้ม
ปริมาณที่พบ:น้อย
การขยายพันธุ์:ใช้เมล็ด
อธิบายวิธีการเพาะ/ขยายพันธุ์:นำเมล็ดมาเพาะปลูก
การใช้ประโยชน์/ส่วนที่นำไปใช้ประโยชน์:นำผลมากิน/ทาน
แหล่งที่พบ:ชุมชนตำบลปางสวรรค์
ข้อมูลอื่นๆเพิ่มเติม:-
ฤดูกาลที่ใช้ประโยชน์ได้:ฤดูฝน
3.หมากมอนไข่


หมากมอนไข่/ละมุดเขมร/ท้อเขมร/เขมา/เซียนท้อ
ชื่อสามัญ Egg fruit, Canistel, Yellow Sapote
ชื่อวิทยาศาสตร์ Pouteria campechiana (Kunth) Baehni
ชื่อพ้อง(Synonyms):
Lucuma campechiana Kunth
Lucuma nervosa A. DC.
Lucuma salicifolia Kunth
ถิ่นกำเนิด เปอร์โตริโก
วงศ์ SAPOTACEAE
ชื่ออื่น : หมากป่วน โตมา ละมุดเขมร
ลักษณะทั่วไป : ไม้ผลยืนต้น เป็นพุ่ม ขนาดเล็กถึงขนาดกลางต้นที่พบมีความสูงประมาณ 5 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 12-15 เซนติเมตรลำต้นค่อนข้างตรง และแตกแขนงสาขาที่ระยะประมาณ 7-8 เมตรเปลือกเรียบสีน้ำตาลปนเทา ใบเดี่ยวรูปหอกกว้างประมาณ 7-10 เซนติเมตรยาวประมาณ 18-38 เซนติเมตรก้านใบด้านบนสีเขียวเข้มส่วนด้านล่างมีสีเขียวอ่อน มีรูปทรงค่อนข้างกลมโดยมีความกว้างประมาณ 6 เซนติเมตร ยาวประมาณ 5 เซนติเมตรสีเขียวแล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลืองเมื่อแก่ส่วนปลายผลนั้นเกือบแหลมคล้ายผลของมะพร้าวขั้วของผลมีขนาดใหญ่โดยมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.5 เซนติเมตร ยาวประมาณ 2 เซนติเมตรการติดผลมีตั้งแต่ผลเดี่ยวถึงเป็นช่อ การขยายพันธุ์ ด้วยเมล็ด

4.หมากกระทกรก



กระทกรก

ชื่อไทย : กระทกรก
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Passiflora foetida L.
ลักษณะทั่วไป :ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ล้มลุก ลำต้นแตกแขนงทอดราบไปตามพื้นดิน ปลายกิ่งมักชูตั้งขึ้น สูงได้ถึง 50 ซม. ลำต้นมีขนประปราย ใบ เดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรี กว้างประมาณ 2.5 ซม. ยาวประมาณ 5.5 ซม. ปลายแหลม โคนสอบ ขอบจักเล็กน้อย มีจักเป็นรูปสามเหลี่ยมกลางแผ่นใบทั้ง 2 ข้าง เส้นแขนงใบข้างละ 1 เส้น ที่โคนใบเห็นไม่ชัดเจน อีกคู่หนึ่งเห็นชัด เหนือขึ้นไปมีเส้นแขนงใบข้างละ 4 เส้น ก้านใบสั้นหรือไม่มี ช่อดอก แบบช่อกระจุก ออกตามง่ามใบใกล้ยอด กว้างประมาณ 2 ซม. ก้านช่อดอกยาว 4- 6 ซม. โคนช่อมีใบประดับรูปรีเรียงซ้อนกัน 2 ชั้น ชั้นละ 4-5 ใบ ชั้นนอกโคนติดกัน ชั้นในเรียงสลับกับชั้นนอก อยู่โดยรอบฐานดอก ที่ขอบใบประดับมีขน ใบประดับชั้นนอกจะใหญ่ขึ้นเมื่อดอกโรย ดอกวงนอกเป็นดอกเพศเมีย มี 8-10 ดอก ดอกวงในซึ่งเป็นดอกสมบูรณ์เพศ ขนาดเล็กกว่าและมีจำนวนมากกว่า กลีบดอกวงนอกสีเหลืองติดกันเป็นแผ่น กว้าง 3- 4 มม. ยาว 0.8- 1 ซม. โคนติดกันเป็นหลอดสั้นมาก ปลายแยกเป็น 3 แฉก ดอกวงในกลีบดอกสีเหลือง โคนกลีบติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5 แฉก ที่ขอบแฉกมีขน รอบๆ ดอกวงในมีใบประดับบางใส รูปท้องเรือปลายแหลมแทรกอยู่ รังไข่เล็ก และเป็นหมัน เกสรเพศผู้ 5 อัน สีน้ำตาลดำ ยอดเกสรเพศเมียแยกเป็น 2 แฉก ผล เกิดจากดอกวงนอก ยาวประมาณ 5 มม. รูปไข่กลับ ปลายยอดผลมีเยื่อสีขาว รูปถ้วย โคนที่ติดกันกับฐานเรียวแหลมเป็นสามเหลี่ยม มีเนื้อนุ่มสีขาวหุ้มและขรุขระ เมล็ด เล็ก สีดำ เป็นมัน รูปสามเหลี่ยมปลายแหลม ยาวประมาณ 4 มม.
 
5. หมากม่อน
 
 
ภาษากลางเรียกว่า ผลหม่อน หรืออังกฤษคือมัลเบอรี่ (Mulberry) นอกจากเป็นที่ชื่นชอบของนกแล้ว เด็กๆ ก็ชอบกินเช่นกัน
บักหม่อน หรือ ผลหม่อน เป็นผลไม้ลูกเล็กๆ ขนาดโดยทั่วไปประมาณปลายนิ้วก้อย แต่หม่อนบางพันธุ์ เช่นพันธุ์ผสม ออกลูกโตประมาณหัวนิ้วโป้งเลยทีเดียว ผลหม่อนมีผิวขรุขระ
ผลดิบสีเขียว ไม่นิยมกิน
ผลห่าม สีแดง รสเปรี้ยวนิดๆ
ผลสุก สีดำ รสหวาน แต่บางต้นก็รสหวานอมเปรี้ยว

ต้นหม่อนบางต้น ต้นใหญ่.. เด็กๆ ชอบปีนขึ้นไปเก็บกินบนต้น ส่งเสียงเจี๊ยวจ๊าว พอลงจากต้นหม่อน มักจะหัวเราะเยาะปากกันและกัน หาว่าปากคนอื่นดำ ลิ้นดำ ... แหม หากกินเยอะๆ ปาก-ลิ้นดำ ทุกคนแหละ

ปัจจุบัน หม่อนถือเป็นพืชเศรษฐกิจ สามารถนำไปแปรรูปเพิ่มมูลค่าได้มากมาย เช่น ใบ นำไปทำชาใบหม่อน ผลนำไปทำไวน์หม่อน เป็นต้น
ภาษากลางเรียกว่า ผลหม่อน หรืออังกฤษคือมัลเบอรี่ (Mulberry) นอกจากเป็นที่ชื่นชอบของนกแล้ว เด็กๆ ก็ชอบกินเช่นกัน
บักหม่อน หรือ ผลหม่อน เป็นผลไม้ลูกเล็กๆ ขนาดโดยทั่วไปประมาณปลายนิ้วก้อย แต่หม่อนบางพันธุ์ เช่นพันธุ์ผสม ออกลูกโตประมาณหัวนิ้วโป้งเลยทีเดียว ผลหม่อนมีผิวขรุขระ
ผลดิบสีเขียว ไม่นิยมกิน
ผลห่าม สีแดง รสเปรี้ยวนิดๆ
ผลสุก สีดำ รสหวาน แต่บางต้นก็รสหวานอมเปรี้ยว

ต้นหม่อนบางต้น ต้นใหญ่.. เด็กๆ ชอบปีนขึ้นไปเก็บกินบนต้น ส่งเสียงเจี๊ยวจ๊าว พอลงจากต้นหม่อน มักจะหัวเราะเยาะปากกันและกัน หาว่าปากคนอื่นดำ ลิ้นดำ ... แหม หากกินเยอะๆ ปาก-ลิ้นดำ ทุกคนแหละ

ปัจจุบัน หม่อนถือเป็นพืชเศรษฐกิจ สามารถนำไปแปรรูปเพิ่มมูลค่าได้มากมาย เช่น ใบ นำไปทำชาใบหม่อน ผลนำไปทำไวน์หม่อน เป็นต้น
ภาษากลางเรียกว่า ผลหม่อน หรืออังกฤษคือมัลเบอรี่ (Mulberry) นอกจากเป็นที่ชื่นชอบของนกแล้ว เด็กๆ ก็ชอบกินเช่นกัน
บักหม่อน หรือ ผลหม่อน เป็นผลไม้ลูกเล็กๆ ขนาดโดยทั่วไปประมาณปลายนิ้วก้อย แต่หม่อนบางพันธุ์ เช่นพันธุ์ผสม ออกลูกโตประมาณหัวนิ้วโป้งเลยทีเดียว ผลหม่อนมีผิวขรุขระ
ผลดิบสีเขียว ไม่นิยมกิน
ผลห่าม สีแดง รสเปรี้ยวนิดๆ
ผลสุก สีดำ รสหวาน แต่บางต้นก็รสหวานอมเปรี้ยว

ต้นหม่อนบางต้น ต้นใหญ่.. เด็กๆ ชอบปีนขึ้นไปเก็บกินบนต้น ส่งเสียงเจี๊ยวจ๊าว พอลงจากต้นหม่อน มักจะหัวเราะเยาะปากกันและกัน หาว่าปากคนอื่นดำ ลิ้นดำ ... แหม หากกินเยอะๆ ปาก-ลิ้นภาษากลางเรียกว่า ผลหม่อน หรืออังกฤษคือมัลเบอรี่ (Mulberry) นอกจากเป็นที่ชื่นชอบของนกแล้ว เด็กๆ ก็ชอบกินเช่นกัน
บักหม่อน หรือ ผลหม่อน เป็นผลไม้ลูกเล็กๆ ขนาดโดยทั่วไปประมาณปลายนิ้วก้อย แต่หม่อนบางพันธุ์ เช่นพันธุ์ผสม ออกลูกโตประมาณหัวนิ้วโป้งเลยทีเดียว ผลหม่อนมีผิวขรุขระ
ผลดิบสีเขียว ไม่นิยมกิน
ผลห่าม สีแดง รสเปรี้ยวนิดๆ
ผลสุก สีดำ รสหวาน แต่บางต้นก็รสหวานอมเปรี้ยว

ต้นหม่อนบางต้น ต้นใหญ่.. เด็กๆ ชอบปีนขึ้นไปเก็บกินบนต้น ส่งเสียงเจี๊ยวจ๊าว พอลงจากต้นหม่อน มักจะหัวเราะเยาะปากกันและกัน หาว่าปากคนอื่นดำ ลิ้นดำ ... แหม หากกินเยอะๆ ปาก-ลิ้นดำ ทุกคนแหละ

ปัจจุบัน หม่อนถือเป็นพืชเศรษฐกิจ สามารถนำไปแปรรูปเพิ่มมูลค่าได้มากมาย เช่น ใบ นำไปทำชาใบหม่อน ผลนำไปทำไวน์หม่อน เป็นต้น
 


6.หมากกี่โก่ย
 
 ชื่อสามัญ Common name : องุ่นป่า , เถาเปรี้ยว ชื่อวิทยาศาสตร์ Sciencetific name : Ampelocissus martinii Planch. ชื่อวงศ์ Family name: VITACEAE (VITIDACEAE) ชื่ออื่น Other name: เครืออีโกย (อีสาน) กุ่ย (อุบล) เถาวัลย์ขน (ราชบุรี) ส้มกุ้ง (ประจวบฯ)ตะเปียงจู องุ่นป่า (สุรินทร์)
ลักษณะทั่วไป : ไม้เลื้อยล้มลุก หลายฤดู ลำต้น ไม่มีเนื้อไม้ ใบ เดี่ยวรูปหัวใจเว้าลึกเป็น 5 พู ผิว ใบอ่อนมีขน เป็นเส้นใยแมงมุมปกคลุม มีขนอ่อนสีชมพูที่มีต่อมแซม (glandularhair )ขอบใบหยักฟันเลื่อย ดอก ออกเป็นช่อแบบพานิเคิล (panicle) ดอกย่อยมีขนาดเล็กสีชมพูอ่อน กลีบดอก 4 กลีบ การขยายพันธุ์ ด้วยเมล็ดหรือแตกยอดใหม่จากเหง้าใต้ดิน นิเวศวิทยาและการแพร่กระจาย พบทั่วไปตามป่าเบญจพรรณในที่ร่มชื้น เถาจะงอกในช่วงฤดูฝน ประโยชน์และความสำคัญ ทางอาหาร ยอดอ่อน รับประทานเป็นผักสดมีรสหวานอมเปรี้ยว ผลอ่อนต้มตำน้ำพริก หรือใส่ส้มตำ เพราะมีรสเปรี้ยว ถ้ารับประทานดอกมากจะทำให้ระคายคอ ชาวบ้านจะจิ้มเกลือก่อน รับประทานจะลดอาการระคายคอหรือนำผลสุกมาตำใส่ส้มตำ ที่มา : สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
                 นอกจากนี้จาก คุณสมบัติที่ทนทานและหากินเก่งขององุ่นป่าจึงมีการนำมาเป็นต้นตอขององุ่น พันธุ์ต่างๆ ซึ่งก็จะช่วยให้องุ่นป่าของเราไม่สูญพันธุ์ไป
สรรพคุณ
                   ยาพื้นบ้านอีสานใช้ รากฝนดื่มแก้ไข้ ผสมลำต้นหรือรากรสสุคนธ์ เหง้าสัปปะรด ลำต้นไผ่ป่า ลำต้นไผ่ตง งวงตาล เปลือกต้นสะแกแสง ลำต้นหรือรากเถาคันขาว ผลมะพร้าว ลำต้นรักดำ ลำต้นก้อม ลำต้นโพ หญ้างวงช้างทั้งต้น รากกระตังบาย เปลือกต้นมะม่วง ลำต้นหนามพรม รากลำเจียก ลำต้นอ้อยแดง ลำต้นเครือพลูช้าง เหง้าหัวยาข้าวเย็นโคก และเปลือกต้นกัดลิ้น ต้มน้ำดื่ม รักษาฝีแก้อาการบวม
 
7.มะละกอ
 
ลักษณะทั่วไป มะละกอเป็นไม้ล้มลุก (บางครั้งอาจเข้าใจผิดว่าเป็นไม้ยืนต้น) ใบมีลักษณะเป็นใบเดี่ยว 5-9 แฉก เกาะกลุ่มอยู่ด้านบนสุดของลำต้น ภายในก้านใบและใบมียางเหนียวสีขาวอยู่ มะละกอบางต้นอาจมีดอกเพียงเพศเดียว แต่บางต้นอาจมีดอกได้ทั้งสองเพศก็ได้ ผลเป็นรูปรี อาจหนักได้ถึง 9 กิโลกรัม ผลดิบมีสีเขียว และมีน้ำยางสีขาวสะสมอยู่ที่เปลือก ส่วนผลสุก เนื้อในจะมีสีเหลืองถึงส้ม มีเมล็ดสีดำเล็ก ๆ อยู่ภายในกินไม่ได้

8.หมากเม่า

หมากเม่าเป็นไม้ยืนต้นสูงของไทย เกิดในป่าตามธรรมชาติ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเฉพาะในพื้นที่จังหวัดสกลนคร เทือกเขาภูพาน ปัจจุบันมีการขยายพันธุ์ และปรับปรุงสายพันธุ์ให้มีลูกดกและมีเนื้อมาก ลูกโต
หมากเม่า เป็นผลไม้ที่อุดมด้วยคุณค่าทางอาหาร แร่ธาตุ วิตามินเช่น โปรตีน ใยอาหาร คาร์โบไฮเดรต แคลเซี่ยม เหล็ก วิตามิน บี 1 บี 2 ปริมาณสูง มีสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยให้อายุยืน สุขภาพแข็งแรง ลดความเสี่ยงจากมะเร็ง (จากนิตยสารใกล้หมอ) มีกรดอะมิโนซึ่งมีประโยชน์ต่อร่างกาย
หมากเม่า จะมีผลสีเขียวเมือเริ่มเป็นลูก แล้วจะเปลี่ยนเป็นผลสีแดงเมื่อใกล้สุก แต่จะมีรสเปรี๊ยว ต่อจากนั้นเมื่อผลสุกเต็มที่จะมีสีดำจะมีรสหวานอมเปรี๊ยว
 

วันจันทร์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2555

ธงประเทศอาเซียน




ธงกลุ่มประเทศอาเซียน

ธงอาเซียน


ประเทศลาว


ประเทศพม่า




ประเทศไทย



ประเทศกัมพูชา


ประเทศอินโดนีเซีย

ประเทศสิงคโปร์


ประเทศบรูไน


ประเทศฟิลิปปินส์


ประเทศมาเซีย


ประเทศเวียนนาม


ธงรวมประเทศอาเซียน


สมาชิกในกลุ่ม
น.ส. วิภาวดี  แสงกล้า
น.ส.  สุรีพร  คำพรมมา
น.ส.  เบญจพร  เหลาแตว